25491861105535_2104_IP:หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2563)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงแบบแยก)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 1 ปริญญา  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   27/04/2563  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2563
   หลักสูตรสังกัดคณะ   มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2549  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2559  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Social Work Program in Social Work  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : สถานที่จัดการเรียนการสอนอื่นๆ (โปรดระบุ):มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาตรี 4 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.สังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิตBachelor of Social Workสส.บ.B.S.W.สังคมสงเคราะห์ศาสตร์
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตร
1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30  หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์   6  หน่วยกิต
        (2) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์   6  หน่วยกิต
        (3) กลุ่มวิชาภาษา 12  หน่วยกิต
        (4) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์   6  หน่วยกิต
2) หมวดวิชาเฉพาะไม่น้อยกว่า       122  หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาพระพุทธศาสนา 30  หน่วยกิต
        - รายวิชาบังคับ 24  หน่วยกิต
        - รายวิชาเลือก   6  หน่วยกิต
(2) กลุ่มวิชาเอกสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ 63  หน่วยกิต
        - รายวิชาบังคับ 48  หน่วยกิต
        - รายวิชาเลือก 15  หน่วยกิต
(3) กลุ่มรายวิชาฝึกภาคปฏิบัติ                              29  หน่วยกิต
3) หมวดวิชาเลือกเสรีไม่น้อยกว่า   6  หน่วยกิต

จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 158  หน่วยกิต

รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาตรี 4 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ158

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25491861105535_2104_IP:หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2563)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2563  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
15/09/2020 10:22:36658.28 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์วรเทพ เวียงแกวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์วาริณี โสภาจรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สิทธิพร เกษจ้อยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สังคมวิทยา สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์เอกชาตรี สุขเสนวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สังคมสงเคราะห์ศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์เอนก มูลมาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์วรเทพ เวียงแกวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์วาริณี โสภาจรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สิทธิพร เกษจ้อยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สังคมวิทยา สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์เอกชาตรี สุขเสนวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สังคมสงเคราะห์ศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์เอนก มูลมาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   มี
มีการจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน ไม่เกิน 8 สัปดาห์
 
       
     
   

25491861105535_2104_IP:หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2563)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1มีหลักธรรมในการดำเนินชีวิต
 2มีวินัย เคารพในกฎหมายและสิทธิของคนอื่นๆ
 3มีจิตใจเสียสละ ประพฤติตนเกื้อกูลต่อสังคม
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 1รู้จักกฎเกณฑ์ทางสังคม เคารพกฎหมาย และเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเอง
 2มีความรู้เท่าทันเทคโนโลยีสารสนเทศ และการใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
 3เข้าใจในหลักเกณฑ์ธรรมชาติของมนุษย์ สังคม และสิ่งแวดล้อม
 4ตระหนักรู้ในคุณค่าของศิลปะ ภาษาและวัฒนธรรมทั้งของไทยและของประชาคมนานาชาติ
 5รู้หลักการดำเนินชีวิตตามแนวทางพระพุทธศาสนา
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 1ฉลาดรู้ที่จะปฏิบัติตนให้เกื้อกูลต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
 2วิเคราะห์ และประเมินสถานการณ์และสภาวการณ์ได้อย่างเหมาะสม
 3ฉลาดรู้ที่จะแสวงหาแนวทางการทำงานและดำรงชีวิตได้อย่างเป็นสุขและสร้างสรรค์
 4ฉลาดรู้ที่จะใช้เทคโนโลยีให้เป็นประโยชน์ ต่อการศึกษา การทำงาน และการติดต่อสื่อสาร
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 1มีภาวะผู้นำ รู้จักการใช้เหตุผล วางตนได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ
 2มีความเสียสละ บำเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม
 3มีการสอดส่อง และป้องกันไม่ให้เกิดการประพฤติมิชอบในองค์กรและสังคม
 4รู้จักวางแผนในการทำงาน และดำเนินตามแผนที่ได้วางไว้
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 1มีความสามารถจัดกลุ่มความรู้ และคิดวิเคราะห์ข้อมูลเชิงตัวเลขได้ ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลได้อย่างคุ้นเคย สามารถติดตามเพิ่มพูนความรู้ในเทคโนโลยีอุบัติใหม่อย่างมีประสิทธิผล
 2มีความสามารถในการแสวงหาความรู้ การจัดเก็บ ประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลผ่านอุปกรณ์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศได้ สามารถใช้เครื่องมือเพื่อการสืบค้นข้อมูลที่ถูกต้องตระหนักถึงลิขสิทธิ์และประเด็นการคัดลอกผลงาน สามารถสร้างสรรค์และผลิตสื่อดิจิทัล มัลติมีเดีย และนวัตกรรมทางสังคมเพื่อวัตถุประสงค์ที่หลากหลาย มีความสามารถในการเรียนรู้ผ่านระบบเทคโนโลยีหรือแอพพลิเคชั่น
 3มีความสามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเลือกใช้รูปแบบการสื่อที่สารที่เหมาะสม สามารถติดต่อสื่อสาร ประสานงานและทำงานผ่านระบบออนไลน์ซึ่งมีเครื่องมือและช่องทางที่หลากหลาย สำหรับบุคคลที่แตกต่างกันได้ มีความตระหนักถึงความปลอดภัยทางออนไลน์การรู้จักป้องกันข้อมูลและภาพลักษณ์ส่วนตน ระมัดระวังและไตร่ตรองในการแบ่งปันข้อมูลและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นทางออนไลน์
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1มีจิตสำนึกและตระหนักศึกษาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและจรรยาบรรณวิชาชีพ
 2มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
 3มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 1มีความรู้เกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี หลักการ เนื้อหาของรายวิชา
 2มีความสามารถในการใช้ความรู้มาอธิบายในรายวิชาทางพระพุทธศาสนา
 3มีความรู้เกี่ยวกับวิชาการสังคมสงเคราะห์และนโยบายสังคมและการปฏิบัติงานทางวิชาชีพกับบุคคล ครอบครัว กลุ่ม ชุมชน สังคมและวิชาชีพอื่นๆ อย่างเหมาะสม
 4มีความรู้ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรทางสังคมเพื่อให้เกิดบริการที่เหมาะสม โดยตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์
 5มีความรู้ความเข้าใจด้านพระพุทธศาสนา
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 1สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์
 2สามารถบูรณาการและสังเคราะห์ องค์ความรู้ ทัศนคติ ทักษะทางวิชาชีพ และหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เพื่อประโยชน์ในกระบวนการแก้ไขปัญหาสังคมได้อย่างเหมาะสม
 3สามารถวางแผนวิเคราะห์และประเมินการปฏิบัติงานของตนเองได้อย่างไม่ลำเอียง เพื่อนำไปสู่การพัฒนาตนเอง และการปฏิบัติงาน
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 1มีทักษะในการสร้างและพัฒนาสัมพันธภาพกับบุคคลอื่น มีภาวะผู้นำและผู้ตามในแต่ละสถานการณ์อย่างเหมาะสม
 2ตระหนักในความแตกต่าง หลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 3มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายเพื่อพัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 1มีทักษะในเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลและสารสนเทศ ที่ช่วยในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาสังคม ในระดับบุคคล ครอบครัว กลุ่ม ชุมชน องค์กร
 2สามารถใช้ประโยชน์จากงานวิจัยและเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล นำเสนองานและสื่อสารผลงานได้อย่างสอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมายและสภาพแวดล้อม
 3มีทักษะในการสื่อสารกับผู้ใช้บริการเป้าหมาย และชุมชนที่มีความหลากหลาย ด้วยวิธีการติดต่อสื่อสารที่ทันสมัยและเหมาะสมกับสถานการณ์และจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย เคารพในกฎหมายและสิทธิของบุคคลอื่น มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ได้รับทักษะความรู้พื้นฐานในวิชาศึกษาทั่วไป และพื้นฐานวิชาทางพระพุทธศาสนาและวิชาเอก เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับทักษะ ศาสตร์วิชาที่สูงขึ้น สามารถนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ สามารถทำงานร่วมกับคนอื่นได้ ปรับตัวและดำรงตนอยู่ในสังคมได้เป็นอย่างดี
2นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ ความรู้ความเข้าใจในพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ มีทักษะวิชาชีพและการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ในการทำงานระดับบุคคลและวิชาชีพอื่น ๆ มีความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับหน่วยงานฝึก มีความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อน รุ่นพี่ อาจารย์ที่ปรึกษาในคณะ อาจารย์ที่ปรึกษาภาคสนาม สามารถนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาประยุกต์ใช้ในการฝึกภาคปฏิบัติได้
3นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ มีความรู้เกี่ยวกับวิชาการสังคมสงเคราะห์และนโยบายสังคมและการปฏิบัติงานทางวิชาชีพระดับกลุ่มและวิชาชีพอื่น ๆ อย่างเหมาะสม สามารถนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาประยุกต์ใช้ในการฝึกภาคปฏิบัติได้ สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์ ตระหนักรู้และสามารถปฏิบัติงานกับกลุ่มเป้าหมายและบริบทที่มีความแตกต่างหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม มีทักษะในการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อเพื่อวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาสังคม และสื่อสารกับผู้ใช้บริการที่มีความหลากหลายด้วยวิธีการที่เหมาะสมกับสถานการณ์
4นักศึกษามีความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์อันนำไปสู่การวิจัยทางสังคมสงเคราะห์ สามารถบริหารจัดการทรัพยากรทางสังคมเพื่อให้เกิดบริการที่เหมาะสมตามสถานการณ์ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎี หลักการ เครื่องมือทางสังคมสงเคราะห์ และหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาในการสร้างสัมพันธภาพ ประเมินและวินิจฉัยทางสังคม ปฏิบัติงาน ติดตามและประเมินผลบุคคล ครอบครัว กลุ่ม องค์กร และชุมชน

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
 1 สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และ
 2 ไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติต้องห้ามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ 
      (1) ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
      (2) ไม่เป็นผู้ที่มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษาตามโครงการศึกษาลักษณะพิเศษ
      (3) ไม่เป็นผู้วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพติดให้โทษ 
3 เป็นผู้ที่สภาวิชาการพิจารณาแล้วเห็นสมควรให้เข้ารับการศึกษา

 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25632564256525662567
ปริญญาตรี 4 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ14040404040
2040404040
300404040
40004040
A:รวม4080120160160
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ0004040

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   58000.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 
3. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
    3.1 การสำเร็จการศึกษา
           3.1.1 ต้องเรียนให้ครบหน่วยกิตที่ระบุไว้ตามหลักสูตร 
           3.1.2 ต้องได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 2.00 
3.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2562
 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
01/12/2020 09:50:095.39 MB