25551861105374_2079_IP:หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2563)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงแบบแยก)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 2 ระดับ (โท – เอก)  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   29/07/2563  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2563
   หลักสูตรสังกัดคณะ   มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2555  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2560  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Doctor of Education Program in Educational Administration  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : สถานที่จัดการเรียนการสอนอื่นๆ (โปรดระบุ):มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาเอก 2.1
ปริญญาเอก 1.1
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตDoctor of Educationศษ.ด.Ed.D.การบริหารการศึกษา
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

๓.๑.๒  โครงสร้างหลักสูตร

หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๓)
มีโครงสร้าง ดังนี้

หลักสูตรแบบ ๑.๑

รายการ

จำนวนหน่วยกิต

ดุษฎีนิพนธ์ (Dissertation)

๖๙

จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร

๖๙

หลักสูตรแบบ ๒.๑

รายการ

จำนวนหน่วยกิต

1. วิชาเสริมพื้นฐาน

2. วิชาบังคับพื้นฐาน

3. วิชาบังคับเฉพาะสาขา

4. วิชาฝึกปฏิบัติการวิชาชีพการบริหารการศึกษา

5. วิชาเลือก

6. ดุษฎีนิพนธ์

ไม่นับหน่วยกิต

๑๒

ไม่น้อยกว่า ๙

๓๖

จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร

๖๙



 


รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาเอก 2.169
ปริญญาเอก 1.169

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25551861105374_2079_IP:หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2563)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 2  ปี 2563  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
31/01/2022 11:20:551.37 MB
CouncilApprove2628.pdf
03/02/2022 10:36:120 B
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์พระครูธรรมาภิสมัย (สมัย หาสุข)วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พระครูสุธีจริยวัฒน์ (สาคร ภักดีนอก)วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์วิโรจน์ สารรัตนะวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: กศ.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์พระครูธรรมาภิสมัย (สมัย หาสุข)วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พระครูสุธีจริยวัฒน์ (สาคร ภักดีนอก)วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พระมหาศุภชัย สุภกิจฺโจ (บุตระเกษ)วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ศษ.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิทูล ทาชาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ศษ.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์วิโรจน์ สารรัตนะวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: กศ.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   ไม่มี
 
       
     
   

25551861105374_2079_IP:หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2563)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
 
No data to display
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1มีการประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีของความเป็นดุษฎีบัณฑิตของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เช่น การมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีจิตสาธารณะ รักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ
 2เป็นผู้นำที่สามารถใช้ดุลยพินิจเพื่อจัดการปัญหาหรือทบทวนปัญหาอย่างเป็นผู้รู้เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางวิชาการและจรรยาบรรณทางวิชาชีพทางการบริหารการศึกษาได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ รวมทั้งสามารถส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตามหลักแห่งคุณธรรมจริยธรรมในที่ทํางานและในชุมชนที่กว้างขวางขึ้น
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 1มีความรู้ความเข้าใจในหลักการ แนวคิดและทฤษฎี ตลอดจนประเด็นเพื่อการบริหารจัดการ
 2มีความรู้ความเข้าใจในปรากฏการณ์ทางการบริหารการศึกษาที่เกิดขึ้นในสังคมโลกและสังคมภูมิภาค เพื่อการวิพากษ์เชิงเปรียบเทียบกับระบบการบริหารการศึกษาของสถานศึกษาในประเทศไทยในมิติต่าง ๆ ที่คำนึงถึงมาตรฐานทางวิชาชีพด้านความรู้ที่คุรุสภากำหนด
 3มีความรู้ความเข้าใจในหลักการบริหารการศึกษา ก้าวทันกับการเปลี่ยนแปลง แนวโน้ม และนวัตกรรมเพื่อการบริหารการศึกษาโดยคำนึงถึงมาตรฐานทางวิชาชีพที่คุรุสภากำหนด
 4มีความรู้ความเข้าใจหลักธรรมคำสอนในพุทธศาสนาที่สามารถวิเคราะห์และนำมาใช้เพื่อเป็นประเด็นการวิจัยในมิติต่าง ๆ โดยคำนึงถึงมาตรฐานวิชาชีพด้านความรู้ที่คุรุสภากำหนด
 5มีความรู้ความเข้าใจในหลักการ แนวคิด และทฤษฎีภาวะผู้นำ การบริหารการเปลี่ยนแปลงโดยคำนึงถึงคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการ และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
 6มีความรู้ความเข้าใจในทิศทางและวิธีดำเนินการวิจัยทางการบริหารการศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้งระเบียบวิธีวิจัยที่นิยมใช้ในการวิจัยทางการบริหารการศึกษา
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 1มีความสามารถในการศึกษาทำความเข้าใจทฤษฎี ปรากฏการณ์ การปฏิบัติ การแก้ไขปัญหา และการวิจัย โดยใช้ทักษะการคิดขั้นสูงให้มีพัฒนาการเรียนรู้จากทักษะการคิดขั้นความจำ (remembering) ไปสู่ความเข้าใจ (understanding) การประยุกต์ (applying) การวิเคราะห์ (analyzing) การประเมิน (evaluating) และการสังเคราะห์หรือการสร้างสรรค์ (synthetizing/creating) ทั้งจากการเรียนการสอนแบบปกติในชั้นเรียนและจากการใช้เทคโนโลยีดิจิตอล
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 1สามารถร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ (learning activity) กับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างเหมาะสม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนร่วมชั้นเรียน กับนักศึกษาระหว่างรุ่น กับอาจารย์และบุคลากรในหลักสูตรและนอกหลักสูตร
 2มีความรับผิดชอบต่อการทำงานหรือต่อกิจกรรมการเรียนรู้ตามที่ได้รับมอบหมาย รวมทั้งรับผิดชอบต่อคุณภาพของผลงานทั้งในเชิงวิชาชีพและเชิงวิชาการ
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 1มีความสามารถในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพจากภาคสนามเพื่อการเรียนรู้และเพื่อการวิจัยได้อย่างเหมาะสม
 2มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่หลากหลายรูปแบบเพื่อการแสวงหาความรู้ เพื่อการศึกษาค้นคว้าวิจัย เพื่อการริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อการรายงาน การสรุป และการนำเสนอผลการเรียนรู้หรือการวิจัย ทั้งเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในปรากฏการณ์ทางการบริหารการศึกษาที่เกิดขึ้นในสังคมโลกและสังคมภูมิภาค รวมทั้งมีความรู้ความเข้าใจในหลักการบริหารการศึกษา หลักธรรมสำหรับการบริหารการศึกษา ก้าวทันการเปลี่ยนแปลง แนวโน้ม และนวัตกรรมเพื่อการบริหารการศึกษา เข้าใจทฤษฎี ปรากฏการณ์ การปฏิบัติ การแก้ไขปัญหา และการวิจัย โดยใช้ทักษะการคิดขั้นสูงที่เน้นการวิเคราะห์ สังเคราะห์ หรือสร้างสรรค์ ทั้งจากการเรียนการสอนแบบปกติในชั้นเรียนและจากการใช้เทคโนโลยีดิจิตอล
2นักศึกษามีภาวะผู้นำและธรรมาภิบาลที่ดีในการบริหารการศึกษาโดยเฉพาะคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการ และจรรยาบรรณทางวิชาชีพรวมทั้งสามารถใช้หลักธรรมคำสอนในพุทธศาสนาเพื่อการบริหารการศึกษา โดยคำนึงถึงมาตรฐานทางวิชาการและมาตรฐานทางวิชาชีพ และมีทักษะความรับผิดชอบในการร่วมกิจกรรมการเรียนรู้กับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างเหมาะสมทั้งในหลักสูตรและนอกหลักสูตร รวมทั้งมีความรับผิดชอบต่อคุณภาพของผลงานการเรียนรู้ทั้งในเชิงวิชาชีพและเชิงวิชาการ
3นักศึกษามีความสามารถทำวิจัยในประเด็นที่ท้าทาย มีความลุ่มลึกการทำวิจัยในระดับสูงมีการจัดการและลึกซึ้งกับปัญหาเชิงจริยธรรม สื่อความคิดและข้อสรุปจากผลการวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมต่อความเป็นผู้นำการวิจัยในสาขาวิชา โดยสามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลได้อย่างมีประสิทธิผล ทั้งเพื่อการเรียนรู้ การเรียนการสอน การวิจัย การติดต่อสื่อสาร การบริหารจัดการ และอื่น ๆ

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

๒.๒ คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

๒.๒.๑ เป็นผู้มีคุณสมบัติตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.. ๒๕๖๓ ข้อ ๑๑ และข้อ ๑๒

๒.๒.๒ เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า

๒.๒.๓ สมัครเข้าศึกษาที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างประเทศ จะต้องมีคุณสมบัติอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะหรือวิทยาลัยกำหนด


 

 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25632564256525662567
ปริญญาเอก 1.1133333
203333
300333
400033
A:รวม3691212
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00033
ปริญญาเอก 2.111515151515
2015151515
300151515
40001515
A:รวม1530456060
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ0001515

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   100000.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

๓.  เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร

๓.๑ หลักสูตรแบบ ๑.๑

๓.๑.๑  สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)

๓.๑.๒  เสนอดุษฎีนิพนธ์และสอบผ่านการสอบดุษฎีนิพนธ์ โดยคณะกรรมการสอบที่คณะหรือวิทยาลัยแต่งตั้งซึ่งจะต้องประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกสถาบันและเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

๓.๑.๓ ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ติพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา อย่างน้อย ๒ เรื่อง

๓.๑.๔ ผ่านเกณฑ์อื่นๆ ตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๓ 

๓.๒ หลักสูตรแบบ ๒.๑

๓.๒.๑  ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กาหนดในหลักสูตร โดยได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า

๓.๒.๒  สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)

๓.๒.๓ เสนอดุษฎีนิพนธ์และสอบผ่านการสอบดุษฎีนิพนธ์ โดยคณะกรรมการสอบที่คณะหรือวิทยาลัยแต่งตั้งซึ่งจะต้องประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย โดยการสอบดุษฎีนิพนธ์เป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

๓.๒.๔  ผลงานของดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา

๓.๒.๕  ผ่านเกณฑ์อื่นๆ ตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๓


 

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
12/04/2022 11:05:516.58 MB