T20202078105776:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยพุทธศาสตร์และปรัชญา หลักสูตรใหม่(พ.ศ. 2563)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรใหม่    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรใหม่ 1 ปริญญา  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   27/03/2563  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2563
   หลักสูตรสังกัดคณะ   มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.    
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.    
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยพุทธศาสตร์และปรัชญา  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Buddhist and Philosophical Research  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : สถานที่จัดการเรียนการสอนอื่นๆ (โปรดระบุ):มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาเอก 1.1
ปริญญาเอก 2.1
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตDoctor of Philosophyปร.ด.Ph.D.วิจัยพุทธศาสตร์และปรัชญา
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

รายการ

จำนวนหน่วยกิต

แบบ ๑.๑

แบบ ๒.๑

๑.  หมวดวิชาเสริมพื้นฐานไม่นับหน่วยกิต

๒.  หมวดวิชาบังคับพื้นฐานไม่นับหน่วยกิต

๓.  หมวดวิชาเรียน (Course work) ไม่น้อยกว่า

- หมวดวิชาบังคับพื้นฐาน (Core Courses)

- หมวดวิชาบังคับเฉพาะสาขา (Required Courses)

- หมวดวิชาเลือก (Elective Courses)

๔.  สอบคุณสมบัติ

๕.  ดุษฎีนิพนธ์ (Dissertation)

(๑๒)

 

 

 

 

 

S

๖๙

()

(๙)

๓๓

๑๘

S

๓๖

จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร

๖๙

๖๙


รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาเอก 1.169
ปริญญาเอก 2.169

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร T20202078105776:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยพุทธศาสตร์และปรัชญา หลักสูตรใหม่(พ.ศ. 2563)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2563  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
05/10/2020 13:28:27690.3 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์ประยงค์ แสนบุราณวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์ประสงค์ พรมศรีวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์พระมหาสมบัติ คุเณสโก (ทวีคูณ)วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์ประยงค์ แสนบุราณวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์ประสงค์ พรมศรีวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์พระมหาสมบัติ คุเณสโก (ทวีคูณ)วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์พระมหาสุรวุฒิ จนฺทธมฺโม (แสงมะโน)วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์อัครเดช นีละโยธินวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   ไม่มี
 
       
     
   

T20202078105776:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยพุทธศาสตร์และปรัชญา หลักสูตรใหม่(พ.ศ. 2563)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
 
No data to display
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1สามารถสร้างบุคลากรที่มีคุณภาพทางด้านคุณธรรมจริยธรรมให้บริการแก่สังคมในทุกสาขาอาชีพด้วยหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและแนวคิดทางปรัชญา
 2สามารถวางรากฐานของวัฒนธรรมไทยให้ตั้งอยู่บนรากฐานอันดีงาม
 3รู้จักตัวคุณธรรมจริยธรรมที่แท้จริงและประโยชน์ที่เกิดจากการเรียนรู้
 4สนับสนุนอย่างจริงจังให้รู้จักใช้ดุลยพินิจด้านคุณธรรมจริยธรรมในการจัดการกับความขัดแย้งและปัญหาที่มีผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
 5แสดงออกซึ่งภาวะผู้นำในการส่งเสริมให้มีบุคลกรทุกหน่วยงานให้ประพฤติปฏิบัติตามหลักคุณธรรม จริยธรรมในพระพุทธศาสนาในการทำงานและในชุมชนที่กว้างขวางขึ้น
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 1สามารถตอบโจทย์วิจัยตามหัวข้อดุษฎีนิพนธ์ได้
 2พัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ มีความเข้าใจอย่างถ่องแท้และลึกซึ้งในองค์ความรู้ที่เป็นแก่นในสาขาวิชาการทางด้านพระพุทธศาสนา และปรัชญารวมทั้งหลักการและแนวคิดที่เป็นรากฐานของการดำรงชีวิต
 3มีความรู้ในสาขาวิชาพระพุทธศาสนาและปรัชญาทั้งระบบ
 4มีความรู้ทางภาษาอังกฤษทางพระพระพุทธศาสนาและปรัชญา
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 1สามารถใช้ปัญญาพิจารณาตามความเป็นจริงในสิ่งที่ประสบและแก้ไขปัญหาด้วยความไม่ยึดมั่น
 2เข้าใจทฤษฎีและเทคนิคการแสวงหาความรู้ในการวิเคราะห์ประเด็นและปัญหาสำคัญได้อย่างสร้างสรรค์ และพัฒนาแนวทางการแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการใหม่ ๆ
 3สามารถสังเคราะห์โดยบูรณาการแนวคิดต่าง ๆ ทั้งจากภายในและภายนอกสาขาวิชาที่ศึกษา
 4สามารถนำเสนองานวิจัยไปพัฒนาองค์กรด้วยวิธีที่เหมาะสมที่เรียกว่าเปลี่ยนจากภายใน
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 1มีความสามารถในการแสดงความคิดเห็นทางวิชาการระหว่างนักวิชาการด้วยกัน
 2สามารถประนีประนอมความคิดโดยมองจุดดีที่มีอยู่นำมาใช้ประโยชน์ร่วมกัน
 3สร้างปฏิสัมพันธ์ในกิจกรรมกลุ่มอย่างสร้างสรรค์ และแสดงออกถึงความโดดเด่นในการเป็นผู้นำในทางจิตวิญญาณ
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 1สามารถตีความ วิเคราะห์ และคัดกรองข้อมูลทางคณิตศาสตร์ และสถิติเพื่อนำมาใช้ในการศึกษาค้นคว้าปัญหา สรุปปัญหา และเสนอแนะแก้ไขปัญหาในด้านต่าง ๆ ด้วยหลักวิชาทางพระพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 2สามารถใช้สื่ออินเทอร์เน็ต และเทคโนโลยีสมัยใหม่ในการนำเผยแผ่และเผยแพร่พระพุทธศาสนาและนำเสนอแนวคิดทางปรัชญาให้กับสังคมได้อย่างทั่วถึง
[Collapse]หัวข้อ: 6.ด้านทักษะการดำเนินชีวิตตามแนวพุทธ
 1มีระเบียบและปฏิบัติตน ตามหน้าที่ชาวพุทธ
 2มีจิตตั้งมั่น มีความสามัคคี ในความถูกต้องและความดี
 3มีการบำเพ็ญประโยชน์ มีจิตสาธารณะ รู้จักใช้ความรู้ตามหลักสัปปุริสธรรม
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย เคารพในกฎหมายและสิทธิของบุคคลอื่น มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ได้รับทักษะความรู้พื้นฐานในวิชาวิจัยเชิงคุณภาพ พระพุทธศาสนา ปรัชญาพื้นฐาน พื้นฐานบาลีและสันสกฤต รวมถึงเข้าใจการปฏิบัติกรรมฐาน เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับศาสตร์วิชาที่สูงขึ้น สามารถนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสตร์และปรัชญาสนาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ทำงานร่วมกับคนอื่นได้ ปรับตัวและดำรงตนอยู่ในสังคมได้
2นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความเข้าใจในพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยเชิงคุณภาพ ปริมาณ และแบบผสม ทางพุทธศาสตร์และปรัชญา มีทักษะในการเขียนบทความ การเขียนเค้าโครงวิจัยทางพุทธศาสตร์และปรัชญา การฝึกปฏิบัติธรรม มีภาวะผู้นำเชิงพุทธศาสตร์ รวมถึงมีความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับเพื่อน และรุ่นพี่รุ่นน้อง อาจารย์ที่ปรึกษาในคณะ และคณาจารย์ในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
3นักศึกษามีคุณภาพทางด้านคุณธรรมจริยธรรมให้บริการแก่สังคมในทุกสาขาอาชีพด้วยหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและแนวคิดทางปรัชญา สามารถนำหลักการวิจัย หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา และหลักปรัชญา นำไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตและประกอบอาชีพได้ สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์ ตระหนักรู้และสามารถปฏิบัติงานของแต่ละบุคคลในสังคมได้ รวมถึงบริบทที่มีความแตกต่างหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม มีทักษะในการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อเพื่อวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาสังคม และสื่อสารกับผู้ที่มีความหลากหลายด้วยวิธีการที่เหมาะสมกับสถานการณ์

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
    ๑) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท หรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง ในกรณีที่เป็นนักศึกษาจากต่างประเทศจะต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่ ก.พ. รับรองหรือคณะกรรมการประจำบัณฑิตวิทยาลัยเห็นชอบ และคุณสมบัติอื่น ๆ ซึ่งบัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศให้ทราบเป็นปี ๆ ไป
    ๒) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕ จากระบบ ๔ แต้ม หรือเทียบเท่า ในกรณีที่ขาดคุณสมบัติดังกล่าว คณะกรรมการบัณฑิตวิทยาลัยอาจพิจารณารับสมัครได้โดยพิจารณาจากผลงานทางวิชาการ ประสบการณ์การทำงาน ความรู้ และความสามารถ
    ๓) ผู้สมัครต้องมีความรู้ทางด้านภาษาบาลีพอสมควร เพื่อวัดคุณสมบัตินักศึกษาเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยพุทธศาสตร์และปรัชญา โดยผ่านการทดสอบตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน กำหนด
    ๔) ผู้สมัครต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษ (MBU TEST) ได้ผลคะแนนไม่ต่ำกว่าร้อย ๗๐ ต้องผ่านภายใน 1 ปีการศึกษา ได้ในระดับคะแนน S เพื่อวัดคุณสมบัตินักศึกษาเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยพุทธศาสตร์และปรัชญา ตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
    ๕) สำหรับผู้ที่ไม่เคยผ่านการศึกษาทางด้านวิจัยพุทธศาสตร์และปรัชญาต้องศึกษารายวิชาปรับพื้นฐานไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต
    ๖) ต้องไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นจากสถานภาพการเป็นนักศึกษาจากสถาบันการศึกษา หรือมีบุคลิกภาพที่ไม่เหมาะสม

 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25632564256525662567
ปริญญาเอก 1.1133333
203333
300333
A:รวม36999
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00333
ปริญญาเอก 2.111515151515
2015151515
300151515
A:รวม1530454545
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00151515

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   39000.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

๑๐. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร

๑๐.นักศึกษาที่ศึกษา แบบ ๑.๑  สอบผ่านการวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิ์ขอทำดุษฎีนิพนธ์ เสนอดุษฎีนิพนธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการที่มหาวิทยาลัยแต่งตั้ง ซึ่งจะต้องประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและนอกสถาบันและต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

      สำหรับผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ อย่างน้อย ๒ เรื่อง

๑๐.๒ นักศึกษาที่ศึกษาแบบ ๒.๑ ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กำหนดในหลักสูตร โดยจะต้องได้รับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐  จากระบบ ๔ ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิขอทำดุษฎีนิพนธ์ เสนอดุษฎีนิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการที่มหาวิทยาลัยแต่งตั้ง ซึ่งจะต้องประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกสถาบันและต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

                สำหรับผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ

               รูปแบบและลิขสิทธิ์ของดุษฎีนิพนธ์ ให้เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยว่าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
30/11/2020 11:22:533.17 MB